SKU : 9786167667256
งานวิชาการรางวัล ถึงการเคลื่อนไหวทางการเมืองในไทยช่วง 50 ปีที่่ผ่านมา
หมวดหมู่ : หนังสือ ,  ประวัติศาสตร์ ,  สังคมและวัฒนธรรม ,  การเมือง ,  วิชาการ ,  หนังสือรางวัล , 
แบรนด์ : ฟ้าเดียวกัน
Share
สารบัญ
คำประกาศรางวัล TTF Award สาขาสังคมศาสตร์
คำนำสำนักพิมพ์
คำนำเสนอ โดย เกษียร เตชะพีระ
คำนำผู้เขียน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1
คำนำผู้เขียน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2
บทที่ 1 สู่การเมืองวัฒนธรรมไทยสมัย 14 ตุลาฯ
การเมืองของอดีต ประวัติศาสตร์ของปัจจุบัน:14 ตุลาฯ กับสังคมการเมืองไทย
ปัญหาว่าด้วยขบวนการนักศึกษาปัญญาชนกับการอธิบาย 14 ตุลาฯ
ว่าด้วยขอบเขตและวิธีการ
บทที่ 2 การก่อตัวทางสังคมของนักศึกษาและเครือข่ายวาทกรรมของปัญญาชน
นักศึกษาธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2500 – 2516
นักศึกษาในฐานะชนชั้นนำของสังคม
ปัญญาชนกับการสร้างเครือข่ายวาทกรรม
บทที่ 3 รัฐบาลทหารกับวัฒนธรรมสงครามเย็น : สงครามอินโดจีนกับการควบคุมความจริง
วัฒนธรรมสงครามเย็น วิกฤตในลาวกับการเข้าพัวพันในสงครามอินโดจีน : คำอธิบายเรื่อง “ศัตรูข้างบ้าน”, การ “ป้องกันตัวเอง” และ “มหามิตร”
แหล่งข้อมูลข่าวสารราชการกับสงครามโฆษณาชวนเชื่อ
จากลาวสู่เวียดนาม
ระบอบเผด็จการทหารกับความลับในสงครามอินโดจีน
ข่าวต่างประเทศ : ความจริงจากภายนอก
บทที่ 4 การก่อตัวของกระแสการต่อต้านสงครามเวียดนาม : วาทกรรมจากภายนอก ความคิดประชาธิปไตย และกระแสชาตินิยม
บทบาทของปัญญาชน
“ซ้ายใหม่”: การต่อต้านสงคราม สังคมนิยม-ประชาธิปไตยและพลังนักศึกษา
กระแสต่อต้านสงครามในวรรณกรรม
สู่การเคลื่อนไหวในรั้วมหาวิทยาลัย : การคัดค้านสงครามต่อต้านรัฐบาล และกระแสชาตินิยม
นักศึกษากับการแพร่กระจายความรู้สู่สาธารณะ
วาทกรรมจากอดีตกับการต่อต้านสงคราม
บทที่ 5 การรื้อฟื้นวาทกรรมจากอดีต : กษัตริย์ประชาธิปไตยและความคิดสังคมนิยม
รัฐเผด็จการกับการทำลายความทรงจำและการแยกปัญญาชนออกจากสาธารณะ
การรื้อฟื้นวาทกรรม “สังคมนิยม” จากอดีต :การเชื่อมต่อประสบการณ์และแรงบันดาลใจทางการเมือง
วาทกรรมกษัตริย์ประชาธิปไตย
บทที่ 6 บทสรุป : แบบเรียนการเมืองวัฒนธรรมจาก 14 ตุลาฯจากสงครามวาทกรรมสู่การเมืองบนถนนราชดำเนิน
จาก 14 ถึง 6 ตุลาฯ
แบบเรียนทางการเมืองวัฒนธรรมจาก 14 ตุลาฯ
เครือข่ายวาทกรรม
ชาตินิยมกลายพันธุ์
วาทกรรมราชาชาตินิยมประชาธิปไตย
ศิลปะและการเมืองของการอ้างอิงนอกบริบท
ประวัติผู้เขียน